วันพุธที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559

โครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงาน
เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด

เสนอ
คุณครู รตนัตตยา  จันทนะสาโร

จัดทำโดย
                                          นายภูมินทร์  เกาะรัมย์  เลขที่6
นางสาวเกสร ไชยสุวรรณ์  เลขที่10
นางสาวนพรัตน์ โสรเนตร เลขที่17
                                        นางสาวสิริยากร ตระกูลรัมย์ เลขที่ 30
                                                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3

โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เคมี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนภัทรบพิตร

                                                       กิตติกรรมประกาศ
การจัดทำโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด สำเร็จได้เนื่องจากคณะผู้จัดทำโครงงาน ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดี จาก นางรตนัตตยา จันทนะสาโร ที่คอยให้คำปรึกษา โครงงาน เรื่องการย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดและขอบใจเพื่อนๆที่คอยเป็นกำลังใจให้ตลอดจนสำเร็จคณะ ผู้จัดทำโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง  



                                                                                               นายภูมินทร์  เกาะรัมย์ 
                                                                                                    นางสาวเกสร ไชยสุวรรณ์ 
                                                                                                     นางสาวนพรัตน์ โสรเนตร
                                                                                                         นางสาวสิริยากร ตระกูลรัมย์







                                                              บทคัดย่อ
      โครงงานเรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด เป็นการนำเปลือกมังคุดที่มีอยู่ในท้องถิ่นซึ่งทิ้งแล้ว สามารถนาเปลือกมังคุดที่จะทิ้งมาทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในเปลือกมังคุดยังมีสารยังมีสารต่อต้านอนุมูล อิสระ และสารแทนเนิน ซึ่งสารแทนเนิน ที่อยู่เปลือกมังคุดสามารถนามาทำเป็นสี ย้อมผ้าได้และผ้าที่ได้ก็ไม่ เป็นอันตรายต่อร่างกายเวลาสวมใส่ วัตถุประสงค์ที่จัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายประโยชน์ โดยการย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด ที่ปราศจากสารเคมีที่เป็นอันตราย ให้รู้จกการใช้เวลาว่างให้เป็น





สารบัญ
เรื่อง                                                                                                                      หน้า
ที่มาและความสำคัญ                                                                                               1
วัตถุประสงค์                                                                                                           1
สมมติฐานของโครงงาน                                                                                          1
ประโยชน์                                                                                                                2
สรรพคุณทางยา                                                                                                       2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง                                                                               3
อุปกรณ์                                                                                                                   4
วิธีทำ                                                                                                                       5
ผลการดำเนินงาน                                                                                                   6
สรุปผลและอภิปรายผลการดาเนินการจัดทาโครงงาน                                           7
บรรณานุกรม                                                                                                         8




ที่มาและความสำคัญ
       ในปัจจุบนผ้าย้อมสี เป็นเครื่องอุปโภคที่ตองใช้ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นจึงมีการผลิตผ้าย้อมสี จำนวนมากและหลายสี หลายยีหอและหลายราคา แล้วแต่ผู้อุปโภคจะเลือกใช้ ซึ่งผู้อุปโภคต้องสูญเสียเงินในการซื้อ ผ้าย้อมสี ซึ่งเป็นเงินจานวนมาก ดังนั้นนักเรียนจึงมีความสนใจในการผลิตผ้าย้อมสี จากเปลือกมังคุดขึ้นมาใช้เพื่อลดต้นทุนในการซื้อผ้าย้อมสี ผ้าย้อมสี จากเปลือกมังคุด ต้องอาศัย กระบวนการ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็น ระบบ กระบวนการกลุ่มร่วมแรงร่วมใจกันระหว่าง นักเรียน ครู ผู้ปกครอง สร้างนวัตกรรมเพื่อให้ เหมาะสมกับบริบทของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่มีอยู่ คือ การผลิตผ้าย้อมสี จากเปลือกมังคุดที่หาวัสดุ ธรรมชาติได้ในท้องถิ่นมาสกัดสี เป็นส่วนประกอบของผ้าย้อมสี จากธรรมชาติทาให้ได้ผาย้อมสี จากเปลือก มังคุดสี สันที่สวยงาม และช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้อีกด้วย
 วัตถุประสงค์
     1.เพื่อศึกษาวิธีการย้อมผ้า โดยการใช้สีจากเปลือกมังคุด
     2.เพื่อให้สีที่ได้จากผ้าเป็นสี ที่ได้จาก ธรรมชาติ
สมมติฐานของโครงงาน
 1.สียอมผ้าจากเปลือกมังคุด สามารถย้อมผ้าได้จริง
2. สี ยอมผ้าที่ได้เป็นสี ที่ได้จากธรรมชาติ ตัวแปรต่างๆ ตัวแปรต้น : สารแทนนินจากเปลือกมังคุด ตัวแปรตาม : ผ้าจากสารแทนนินจากเปลือกมังคุด ตัวแปรควบคุม : ปริมาณของเปลือกมังคุด ขนาดของผ้าที่มาทดลอง เวลาในการทดลอง


                                                                

ประโยชน์
          มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็น ราชินีของผลไม้ อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วน เนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้ มีการ นามังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัด นครศรี ธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุด ห่ามออกมาเสียบไม้รับประทานในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมุงคุดสุกเป็นผลไม้ เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือแทนเนินแซนโทน (โดยเฉพาะแมงโกสติน)  แทนเนินมีฤทธิ์ ฝาดสมาน ทาให้แผลหายเร็ว แมงโกสติน ช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ ตานเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิด ้ หนองได้ดี ในทางยาสมุนไพร ใช้เปลือกมังคุดตากแห้งต้มกับน้ำหรือย่างไฟ ฝนกับน้ำปูนใส แก้ทองเสียเปลือกแห้งฝนกับน้ำ าปูนใส ใช้รักษาอาการน้ำกัดเท้า แผลเปื่อย เปลือกมังคุด มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่ การหมัก
สรรพคุณทางยา
     มังคุดนอกจากจะเป็นผลไม้ ด้วย เปลือกมังคุดแห้ง ที่สวยงามชวนรับประทานแล้วก็ยงช่วย เป็นยารักษาโรค ได้ดีอีก ั นามาครึ่งผลฝนกับน้ำสุกหรือน้ำปูนใสนามารับประทาน รักษาอาการท้องเสีย หรื อ นา ไปดองกับเหล้ารับประทานเป็นยาแก้ทองเสียเรื้อรังได้ มังคุดใช้เป็นยาภายนอกได้โดย นาเปลือก ้ มังคุด สดหรือแห้งมาต้มกับน้ำเคี่ยวให้งวดเล็กน้อย ใช้ลางแผลเปื่อย นอกจากนั้นเปลือกมังคุดสดหรือแห้ง เมื่อนามาฝนกับน้ำปูนใสยังสามารถ รักษาบาดแผลที่เกิดจากน้ำกัดเท้าได้ด้วย ยางสด ๆ สี เหลืองที่ ได้ จากผลมังคุด ช่วยสมานแผลได้ดี หรือใช้เป็นยาแก้บิด แก้ทองร่วง



เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
          มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษ Mangos teen ชื่อวิทยาศาสตร์  Gavcinia  mangostana Linn  มีถิ่นกำเนิดในหมู่ เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ มังคุดเป็นผลไม้ที่นิยมเป็นอย่างมากในแถบเอเชียโดยได้รับการขนานนาม ว่าเป็น ราชินีแห่งผลไม้” (Queen of fruits) อาจเป็นเพราลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบบนหัวคล้ายกับ ่ มงกุฎของพระราชินีเป็นผลที่จดว่าเป็นประโยชน์มากชนิดหนึ่ง โดยประโยชน์ของมังคุดไม่ได้อยู่แค่เนื้อที่ ั เรารับประทานกันเท่านั้น ประโยชน์ของเปลือกมังคุดก็มีมากมายในการรักษาโรคได้เช่นกัน และในเปลือก มังคุดยังมีสารแซนโทน (Xanthore) ในปริมาณมากแม้จะมีส่วนช่วยในการต่อต้านอนุ มูลอิสระ ช่วยลดการ อักเสบ ลดความดันโลหิต ช่วยต่อต้านการเกิดโรคมะเร็ง และอาการแพ้ต่างๆ แต่ก็ยงขาดข้อมูลในกา ร สนับสนุนว่ามังคุดจะสามารถรักษาอาการเหล่านี้ได้จริง และนอกจากนี้มังคุดยังมีสารแทนเนิน (Tannin) ที่อยู่ในเปลือกของมังคุดหากบริ โภคมาเกินไปและต่อเนื่อง อาจทาให้เกิดเป็นพิษต่อ ตับ ไต การเกิดมะเร็งในร่อง แก้ม ในทางเดินอาหารส่วนบนและยังไปลดจานวนเม็ดเลือดขาวจนทาให้ภูคุมกันของร่างกายตำลงจากปกติ ้ ดังนั้นการรับประทานอาหารที่ดีที่สุดคือการรับประทานอาหารให้ครบ หลากหลายไม่ซ้ำกัน เพื่อประโยชน์ของตนเอง 5 หมู่เลือกรับประทานผลไม้







อุปกรณ์

 วัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี
อุปกรณ์
     1. กระชอน
     2. ขวดปากกว้าง
     3. ไม้คน
     4. เตาถ่าน
     5. หม้อ
วัสดุและสารเคมี
     1. เปลือกมังคุด
     2. ผ้าดิบ
     3. แอลกอฮอล์
     4. สีย้อมผ้า




วิธีทำ
1.เด็ดขั้วที่เปลือกออกให้หมด แล้วใส่ ครกตำทีละน้อยๆอย่ามาก
2.ตำพอแหลกอย่าให้ถึงกับเหลว
3.ใส่เปลือกมังคุดลงในภาชนะ เติมน้ำ 1 ลิตร
4.ยกน้ำที่ผสมเปลือกมังคุดตั้งบนเตาถ่าน แล้วต้มประมาณ 1 ชั่วโมง
5.เมื่อครบ 1 ชั่วโมงจะได้น้ำเปลือกมังคุดสี ม่วงเข้ม จากนั้นให้เทน้ำเปลือกมังคุดลงในกระชอน เพื่อแยกเปลือกออก
6.นำผ้าไปแช่ในภาชนะ 1 ชั่วโมง
7.นำผ้าไปตากจนแห้ง
8 นำผ้าไปซักและได้ผ้าที่เสร็จ

 





ผลการดำเนินงาน
 ตารางแสดงผลการทดลองสียอมผ้าจากเปลือกมังคุดและสี ยอมจากสารเคมีสีที่ใช้ในการย้อมผ้า
1. สี ยอมผ้าจากเปลือกมังคุด
2. สี ยอมจากสารเคมี ปริมาณ 1 กิโลกรัม 2 กิโลกรัม ครึ่งซอง 1 ซอง จากตารางบันทึกผลการทดลองของสี ยอมผ้าที่ได้จากเปลือกมังคุด  ผลการทดลอง สี เข้มน้อย สี เข้มมาก สี เข้มน้อย สี เข้มมาก และสี ยอมผ้าจากสารเคมีเรา พบว่า สี ยอมผ้าจากเปลือกมังคุดจะสี เข้มมากหรือสี เข้มน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของเปลือกมังคุดที่ใช้ทดลอง ้ ซึ่งสี ที่ได้นั้นไม่เป็นอันตรายต่อร่ายกายแต่สียอมผ้าจากสารเคมีมีสีเข้มมากก็จริง  แต่สีที่ได้นั้นอาจเป็น อันตรายต่อร่างกายได้โดยเราจะใช้วิธีการมองจากสายตาโดยการเทียบสี จากสี ยอมผ้าจากเปลือกมังคุดกับสีย้อมผ้าจากท้องตลาดว่าสี ไหนมีสีเข้มกว่ากัน





สรุปผลและอภิปรายผลการดาเนินการจัดทาโครงงาน
 1.สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองจะสรุปได้ว่า การนำเปลือกมังคุดทีไม่ใช้ เราสามารถนามาทำเป็นผลิตภัณฑ์ใน การย้อมสี ผ้า เราได้ผลิตภัณฑ์ตามที่ตองการและ มีประสิ ทธิ ภาพที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สี ยอมผ้าที่เราย้อมมาจะสดและติดทนนาน และที่สำคัญเป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย
2.ประโยชน์ คาดว่าจะได้ รับจากการทดลอง
     1.รู้ทักษะการย้อมผ้า
     2.ได้เสื้อที่มีประสิ ทธิ ภาพ
    3.ได้เสื้อที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนใส่
3.ข้อเสนอแนะ
     1.เราสามารถนาเปลือกผลไม้ชนิดอื่นที่มีสารแทนเนิน (พวกผลไม้ฝาด) ไปย้อมผ้าได้
     2. เราอาจนาการทดลองนี้ไปใช้กบผลไม้ชนิดอื่นๆ ได้ตามฤดูกาลนั้นๆ





บรรณานุกรม

 - มังคุด (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้ที่ :http://th.wikipedia.org /wiki/มังคุด (วันที่คนข้อมูล : 9 ก.พ. 2557) ้ - ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์. (2554). Tannin/แทนเนิน เข้าถึง จาก:httpp://www.foodnetwork solution.com/wiki/word/2376/tannin-แทนเนิน(วันที่คนข้อมูล: 9 ้ ก.พ. 2557) - วินัย วิทยาลัย,สุวิทย์ บุญดิเรก สิ่งประดิษฐ์ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ พ.ศ. 2536 (วันที่คนข้อมูล 9 ก.พ. 2557) ้ - จิตต์สิงห์ สมบุญ (2557, 31 กรกฎาคม), what’is  “ผ้าดิบ”.ไทยรัฐ, หน้า 16 – การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก :http://www.gsds.go.th/qthaisilk/inside.php? com _option-page= page & aid =61 (วันที่คนข้อมูล 9 ก.พ. 2557)

1 ความคิดเห็น: